สาธารณสุข
2 สาธารณสุข
(1) หน่วยงานด้านสาธารณสุข
- โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1 แห่ง
- ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน - แห่ง
- คลินิกเอกชน จำนวน 3 แห่ง
(2) ข้อมูลสถานะสุขภาพ
ตารางที่ 1.1 แสดงจำนวนและอัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่มประชากร ปี 2556 -2559
ที่มา : สูติบัตร-มรณะบัตร,กันยายน 2559
วิเคราะห์
จากข้อมูลตามตารางจะเห็นได้ว่าอัตราเพิ่มตามธรรมชาติปี 2559 มีแนวโน้มลดลงถึง ปี 2556 แต่ ปี 2559 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เมื่อเทียบกับ 3 ปีที่ผ่านมา คือ จากปี 2556 , 2557 ,2558 และปี 2559 เป็น 0.26,0.20,0.2 และ 0.38 ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีการวางแผนครอบครัวเพิ่มมากขึ้น
แผนภูมิที่ 1.1 แผนภูมิแสดงจำนวนและอัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่มประชากร ปี 2556-2559
ที่มา : สูติบัตร-มรณะบัตร,กันยายน 2559
ตารางที่ 1.2 แสดงสาเหตุการตาย 5 อันดับ ปี 2559
ลำดับ |
สาเหตุการตาย |
ปี 2559 |
|
จำนวน |
ร้อยละ |
||
1 |
หัวใจล้มเหลว / ชราภาพ |
3 |
18.43 |
2 |
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ |
3 |
18.43 |
3 |
มะเร็ง |
1 |
10.24 |
4 |
ไตวาย |
1 |
10.24 |
5 |
อื่น ๆ |
0 |
0 |
ที่มา : สูติบัตร-มรณะบัตร , กันยายน 2559
วิเคราะห์
จากตารางจะเห็นว่าสาเหตุการตาย 5 อันดับป่วยตายด้วยโรค หัวใจล้มเหลว / ชราภาพและเบาหวาน เท่ากัน โรคมะเร็งและไตวาย เท่ากัน
แผนภูมิที่ 1.2 แผนภูมิแสดงสาเหตุการตาย 5 อันดับ ปี 2559
ที่มา : สูติบัตร-มรณะบัตร , กันยายน 2559
ตารางที่ 1.3 แสดงการจัด 10 อันดับผู้ป่วยนอก
ลำดับ |
ชื่อโรค |
ปี 2557 |
ปี 2558 |
ปี 2559 |
|||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
||
1 |
โรคระบบหายใจ |
1856 |
47.18 |
2241 |
56.96 |
1569 |
39.88 |
2 |
โรคระบบย่อยอาหารรวมโรคในช่องปาก |
2376 |
60.40 |
2068 |
52.57 |
1496 |
38.03 |
3 |
โรคระบบกล้ามเนื้อรวมโครงร่างและเนื้อยึดเสริม |
1224 |
31.11 |
1465 |
37.24 |
785 |
19.95 |
4 |
โรคตารวมส่วนประกอบของตา |
332 |
8.44 |
157 |
3.99 |
309 |
7.85 |
5 |
โรคติดเชื้อและปรสิต |
2566 |
65.23 |
1231 |
31.29 |
170 |
4.32 |
6 |
ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม |
278 |
7.07 |
230 |
5.85 |
125 |
3.18 |
7 |
โรคผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้สมอง |
51 |
1.30 |
138 |
3.51 |
59 |
1.50 |
8 |
โรคระบบสืบพันธุ์ร่วมปัสสาวะ |
24 |
0.61 |
55 |
1.40 |
37 |
0.94 |
9 |
โรคระบบเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลิซึม |
583 |
14.82 |
466 |
11.85 |
25 |
0.64 |
10 |
เนื้องอก(รวมมะเร็ง) |
438 |
11.13 |
98 |
2.49 |
6 |
0.15 |
ที่มา: รายงาน ( 504 )
วิเคราะห์
จากตารางแสดงให้เห็นว่าจากปี 2557 – 2559 โรคที่ผู้ป่วยเป็นอันดับ 1 เป็นโรคระบบทางเดินหายใจรองลงมาคือ โรคระบบย่อยอาหารรวมโรคในช่องปาก โรคระบบกล้ามเนื้อรวมโครงร่างและเนื้อยึดเสริม โรคตารวมส่วนประกอบของตา โรคติดเชื้อและปรสิต ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม โรคผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง โรคระบบสืบพันธุ์ร่วมปัสสาวะ โรคระบบเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการและ เมตะบอลิซม เนื้องอก (รวมมะเร็ง ) และสาเหตุภายนอกอื่นๆ พบว่าในปี 2559 มีแนวโน้มการป่วยด้วยโรคเหล่านี้มีจำนวนลดลง
ตารางที่ 1.4 แสดงการจัดอันดับโรคทางระบาดวิทยา
ลำดับ
|
โรคติดต่อ
|
ปี2557 |
ปี 2558 |
ปี 2559 |
|||
จำนวน |
อัตรา/แสน |
จำนวน |
อัตรา/แสน |
จำนวน |
อัตรา/แสน |
||
1 |
โรคอุจจาระร่วง |
38 |
965.94 |
15 |
381.29 |
9 |
228.77 |
2 |
โรคตาแดง |
2 |
50.84 |
12 |
305.03 |
7 |
177.94 |
3 |
โรคบิด |
21 |
533.81 |
5 |
127.10 |
4 |
101.68 |
ลำดับ
|
โรคติดต่อ
|
ปี2557 |
ปี 2558 |
ปี 2559 |
|||
จำนวน |
อัตรา/แสน |
จำนวน |
อัตรา/แสน |
จำนวน |
อัตรา/แสน |
||
4 |
ไข้เลือดออก |
5 |
127.10 |
15 |
381.29 |
0 |
0 |
5 |
อาหารเป็นพิษ |
10 |
254.19 |
3 |
76.26 |
0 |
0 |
ที่มา : รายงานระบาดวิทยา , ปี 2557 ,2558 ปี 2559
ตารางที่ 1.5 แสดงจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ
ที่มา : ทะเบียนโรคไม่ติดต่อ
วิเคราะห์
จากตารางแสดงให้เห็นว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานยังเป็นโรคที่ต้องให้การดูแลและให้ประชาชนได้รับความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดกรองโรคเพื่อหาความเสี่ยงและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
แผนภูมิที่ 1.3 แผนภูมิแสดงจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ
ที่มา : ทะเบียนโรคไม่ติดต่อ
ปัญหาและความเสี่ยงที่สำคัญ
ปัญหา |
ขนาด |
ความรุนแรง |
ความยากง่าย |
ความตะหนักของชุมชัน |
รวม |
ลำดับ |
1.โรคไข้เลือดออก |
3 |
4 |
3 |
4 |
14 |
2 |
2.ผู้พิการขาดการดูแล |
2 |
3 |
3 |
3 |
11 |
5 |
3.สุขภาพจิตผู้สูงอายุ |
2 |
2 |
3 |
3 |
10 |
6 |
4.คุณภาพน้ำประปา |
4 |
4 |
2 |
3 |
13 |
3 |
5.สิ่งแวดล้อมขยะ (กลิ่น ฝุ่น ระคายเคืองผิวหนัง) |
4 |
4 |
2 |
2 |
12 |
4 |
6.โรคเรื้อรัง |
4 |
4 |
4 |
5 |
17 |
1 |
ปัญหาด้านสาธารณสุขที่ค้นหาในชุมชน
- 1. โรคเรื้อรัง (เบาหวาน,ความดันโลหิตสูง)
- 2. โรคไข้เลือดออก
- คุณภาพน้ำปะปา
- 4. สิ่งแวดล้อมขยะ (กลิ่น ฝุ่น ระคายเคืองผิวหนัง)
- 5. ผู้พิการขาดการดูแล
- 6. สุขภาพจิตผู้สูงอายุ
งานสาธารณสุขในพื้นที่
1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์ครั้งแรก ก่อน 12 สัปดาห์
2.การตรวจมะเร็งปากมดลูก
3.ความรู้การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
4.โภชนาการ 0 – 72 เดือน
5.งานศพปลอดเหล้า
6.การแพทย์แผนไทย
4.3 อาชญากรรม
เทศบาลไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และทำลายทรัพย์สินของราชการ ซึ่งเทศบาลก็ได้ดำเนินการป้องกันการเกิดเหตุดังกล่าว จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาของเทศบาลที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด คือติดตั้งกระจกโค้งทางร่วมทางแยก ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางเทศบาลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้
4.4 ยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของเทศบาล จากการที่ทางสถานีตำรวจภูธรอำเภอเขื่องในได้แจ้งให้กับเทศบาลทราบนั้นพบว่าในเขตเทศบาลมีผู้ที่ติดยาเสพติด การแก้ไขปัญหาของเทศบาลสามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ อีกทั้งได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ เทศบาลก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
4.5 การสังคมสังเคราะห์
เทศบาลได้ดำเนินการด้านสงคมสังเคราะห์ ดังนี้
1 ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์
- รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
- ประสานการทำบัตรผู้พิการ
- ตั้งโครงการช่วยเหลือผู้ยากจน ยากไร้ รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง